ท้องผูก ต้องระวัง “ยิ่งอั้น ยิ่งผูก”

  • Last modified on:3 ปี ago
  • Reading Time:2Minutes
  • Post Words:10Words
  • PostView Count:325Views

ท้องผูก ต้องระวัง “ยิ่งอั้น ยิ่งผูก”

อาการท้องผูก ถ่าย อยาก เป็นอาการที่ ทรมาน มากๆ กับใครหลายๆ คน

การอึดอัด จากการไม่ขับถ่าย ยังทำให้เกิดความหงุดหงิด

ท้องป่อง จนใครเผลอทักว่าเรากำลังตั้งครรภ์ ใครเจอแบบนี้

ทั้งโกรธ ทั้งอาย ยังไม่นับ ความผิดปกติ ที่เกิดจาก

พิษในอุจจาระ ที่ไม่ถูกขับถ่าย ย้อนกลับเข้าภายในร่างกาย

ทำเกิด กลิ่นตัว กลิ่นปาก สิวอักเสบ รวมทั้งอาการร้อนใน ได้อีกด้วย

 

ซึ่งหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้เกิดการ ท้องผูก ก็คือพฤติกรรมการอั้น อุจจาระ ค่ะ!!! อุ้ย จริงหรือเนี้ย

ใช่ค่ะ การมีนิสัยการอั้น อุจจาระ มักจะ เกิดขึ้นจากหลากหลาย เหตุผล เช่น คนที่มุ่งมั่นในการเรื่องใดเรื่องนึงมากๆ เช่น ไม่อยากไปทำงานสาย จึงอั้นไว้ไม่ขับถ่ายในตอนเช้า, งานกำลังติดพัน ไปเข้าห้องน้ำก็เสียเวลา , ติดประชุม หรือ แม้นแต่ การติดที่จะเข้าห้องน้ำที่บ้านเท่านั้น (ข้อหลังนี้สาวๆ เป็นกันเยอะ) หรือ เหตุผล อื่นๆ ซึ่งทำให้การอั้นอุจจาระเกิดขึ้น บ่อยๆ จนกลายเป็นนิสัยเป็นการยับยั้งการขับถ่ายอย่างเป็นธรรมชาติ ซึ่งจะทำให้ ร่างกายเรียนรู้ที่จะ ปรับการขับถ่ายให้ ยาก ตามที่ นิสัยของคนๆ นั้น ต้องการ (ร่างกายปรับตัวตามนิสัย) ซึ่งกว่าจะรู้ตัวอีกครั้ง ก็กลายเป็นคนท้องผูก ถ่ายยากไปเรียบร้อย

ใครที่ท้องผูกไปแล้ว ไม่ต้องตกใจ ผูกได้ ก็แก้ได้

1. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 50% ของผู้ที่มีอาการท้องผูก สามารถกลับมาขับถ่ายได้ปกติ เพียงแค่ปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้ชีวิตซึ่ง ได้แก่

o รับประทานอาหารเช้าทุกวันเพราะอาหารเช้าช่วยให้กระเพาะอาหารขยายตัวแล้วเข้าไปกระตุ้นให้ลำใหญ่ทำงานเกิดเป็นความรู้สึกอยากถ่าย โดยควรเผื่อเวลาสำหรับการเข้าห้องน้ำหลังอาหารเช้า

และการเดินหลังอาหารประมาณครึ่งชั่วโมงไว้ด้วย เพราะความรู้สึกอยากถ่ายนั้นเกิดขึ้นเพียงประมาณ 2นาทีเท่านั้น หากไม่มีการถ่าย ความรู้สึกอยากถ่ายจะหายไปและอุจจาระก็จะแข็งขึ้น

ทำให้เกิดปัญหาท้องผูกตามมา

o ดื่มน้ำให้มากพอเพื่อให้อุจจาระอ่อนนุ่มถ่ายง่าย

o ออกกำลังกายและเคลื่อนไหวร่างกายอยู่เสมอ เพื่อให้ลำไส้เคลื่อนไหวได้ดีขึ้น

2. การฝึกขับถ่ายให้เป็นธรรมชาติ (Biofeedback Training)

หลายคนเบ่งถ่ายผิดวิธีมาทั้งชีวิตโดยไม่รู้ตัวจนทำให้เกิดภาวะท้องผูก ในการฝึกถ่ายอุจจาระอย่างถูกวิธี โดยมีหลักการคือ ฝึกหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องเป็นหลักแทนการหายใจด้วยปอด และฝึกเบ่งโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง

3. การใช้สมุนไพรเพื่อช่วยการขับถ่าย และการดีท๊อกซ์สารพิษ พร้อมกับการปรับสมดุล คืนสมดุลในระบบลำไส้ ให้ลำไส้สะอาด และกลับมาทำงานได้ปกติอีกครั้ง

ในช่วงหลายปีที่ผ่านมามีการคิดค้นสูตรยาที่มากกว่าแค่ยาระบาย ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ และแพทย์

แผนไทย ได้ค้นคว้าสมุนไพร ที่มีคุณสมบัติเป็นยาระบาย จนสามารถพัฒนาสูตรยาที่มีประสิทธิภาพ และมีคุณสมบัติมากกว่ายาระบาย เพราะสามารถขจัดอุจจาระตกค้างพร้อมดีท๊อกซ์ของเสียในร่างกาย

 

3 สมุนไพร

 

โดยสมุนไพร ดังกล่าวปัจจุบัน อยู่ในรูปแบบที่ทานง่าย คือ แบบแคปซูล โดยมีส่วนผสมสำคัญ คือ

  • สารสกัดส้มแขก : ช่วยให้ลำไส้เกิดการเคลื่อนไหวได้เร็วขึ้น และขับไขมันที่อุดตันลำไส้ขวางการดูดซึมสารอาหารให้ออกมา
  • สารสกัดจากเนื้อมะขามป้อม : ช่วยยับยั้งความเป็นพิษของตับและไต ช่วยถ่ายพยาธิ เป็นยาระบายยังช่วยป้องกันการเกิดแผลในระบบทางเดินอาหาร
  • สารสกัดจากสมอไทย : ช่วยขับสารพิษ ช่วยในการขับถ่ายให้คล่องตัว ช่วยขับลมในลำไส้ ช่วยชำระล้างเมือกในลำไส้

ด้วยคุณสมบัติของทั้ง 3 สมุนไพร ทำให้เกิดตำรับยาระบายที่ช่วยผู้ที่มีปัญหาระบบขับถ่ายได้มาก เพราะ

  • เป็นสมุนไพรที่เป็นนวัตกรรม การสกัดไม่ใช่การบดแล้วอัดเม็ด ทำให้ตัวยาอยู่ในรูปแบบแคปซูลขนาดเล็ก และเพราะเป็นสารสกัด จึงได้ตัวยาที่เข้มข้นจึงทานในจำนวนที่น้อยกว่า แต่ได้ผลลัพธ์ที่ดีกว่า
  • เป็นยาถ่ายที่สามารถเปิดทวารได้ คือ ถ่ายเพียง 1-2 ครั้ง แล้วหยุด ไม่เกิดการถ่ายกะปริดกะปรอยสามารถใช้ชีวิตนอกบ้านได้ตามปกติ
  • มีลมช่วยเบ่ง สำหรับผู้สูงอายุที่ไม่มีแรง เบ่งโดยไม่ต้องออกแรงเยอะ
  • ผู้ที่เป็นโรคริดสีดวงทวารที่ไม่สามารถเบ่งถ่ายได้ (อาจจะทำให้เลือดออกได้)
  • ไม่ทำให้หมดแรง ไม่เสียน้ำ ไม่อ่อนเพลีย
  • ขับถ่ายได้หมดจรดไม่ตกค้าง ภายใน 1-2 ครั้งเท่านั้น

เริ่ม ปรับพฤติกรรม และ เลือกใช่ ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติมาดูแล ระบบขับถ่าย รับรอง อาการท้องผูก หายได้แน่นอน

3 สมุนไพร
การคิดค้น สูตรของยาระบาย จากองค์ความรู้ ประสบการณ์ ของผู้เชี่ยวชาญ

ที่สั่งสมเรื่องการศึกษา เฉพาะด้าน มาอย่างยาวนาน จนได้ค้นพบ สมุนไพร

ที่มีคุณสมบัติ เป็นยาระบาย จากธรรมชาติ และเป็นสุตร ที่มีประสิทธิภาพ

มีคุณสมบัติ ที่ดีกว่ายาระบายทั่วไป คือ การจัดการของเสีย หรือ อุจจาระ

พร้อมทั้งช่วยดีท็อกซ์ ของเสียในร่างกาย

บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?

คลิกที่ดาว เพื่อให้คะแนนบทความ

Average rating 0 / 5. Vote count: 0