โรคหัวใจ ภัยร้าย คร่าชีวิต

  • Last modified on:4 ปี ago
  • Reading Time:2Minutes
  • Post Words:10Words
  • PostView Count:191Views

โรคหัวใจ คร่าชีวิต อันตราย ไม่มีสัญญาณเตือน

เว็บไซด์ สุขภาพดีดี ขอ แบ่งปันความรู้ เรื่อง โรคหัวใจ เพื่อหวังใจว่าจะเป็นประโยชน์  ต่อ การดูแล สุขภาพ ให้ปลอดภัย ห่างไกล จาก โรคหัวใจ กันทุกครอบครัว

ก่อนป้องกัน ก็ ต้อง รู้จักโรคหัวใจ กันก่อน

ความสำคัญของ อวัยวะ ที่ชื่อ “หัวใจ” 

หน้าที่ของหัวใจ คือ  เป็น เหมือน “ปั้มน้ำ” ที่ “สูบ” (ดูเข้า) “ฉีด”(ฉีดออก)  โดย หัวใจ ทำการสูบฉีด เลือด ประมาณ 5 ลิตร ต่อ นาที และ เต้น ประมาณ  144,000 ครั้ง ต่อวัน เพื่อส่งให้ เลือด ทั้ง แดง และ ดำ ไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย คื อสรุปง่ายๆ ถ้า หัวใจ ทำงานผิดปกติ หรือ หยุดทำงาน เพียงแค่ 4-5 นาที ก็ ทำให้สมอง ตายได้แล้ว 

 

ปัจจัยเสี่ยง ต่อการ เป็น โรคหัวใจ และ หลอดเลือดหัวใจ

  1. ผู้ที่มีโรคประจำตัว เป็นโรคไขมันในเลือดสูง , เบาหวาน , ความดันสูง 
  2. ผู้ที่สูบบุหรี่ 
  3. ทานอาหารรสจัด เช่น รสเค็มจัด  อาหารที่มีไขมันสูง
  4. ไม่ออกกำลังกาย
  5. โรคอ้วน หรือมีน้ำเกินมาตรฐาน
  6. มีความเครียดสะสม
  7. ผู้หญิงที่ทานยาคุมกำเนิดเป็นประจำ 
  8. วัยทอง 
  9. พักผ่อนน้อย นอนไม่ครบ 6-8 ชม ต่อวัน 

ในความเสี่ยง ทั้ง 9 ข้อ อย่าว่าแต่คุณแม่ของตัวผู้เขียนเลย ตัวผู้เขียนเอง ก็อยู่ในกลุ่มเสี่ยงไปแล้ว  7 ใน 9 ข้อแล้ว นั้นหมายความว่า ไม่ใช่แค่ ผู้สูงอายุเท่านั้นที่ ตกอยู่กลุ่มเสี่ยง ของการป่วยเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดหัวใจ  กลุ่มผู้ใหญ่วัยทำงาน ก็ อยู่ในกลุ่มเสี่ยงและ มีโอกาส เป็น โรคนี้ได้เช่นกัน

เช็คสัญญาณ เตือน  วัดความแข็งแรงของ หัวใจ หาก หัวใจของเรายังแข็งแรงอยู่ เราต้องไม่มีอาการเหล่านี้

  1. เหนื่อยง่าย ในกิจกรรมปกติ ทั่วๆไป เช่นเดินใน สปีดปกติ  ไม่เกิน  1 กม  เดินขึ้นบันได ไม่เกิน 3 ชั้น  
  2. มีอากรเจ็บ หน้าอกด้านซ้าย อาการคือ 
    • บีบเค้นเหมือนมีของหนัก กดทับ
    • เจ็บแปลบร้าวไปถึงหัวไหล หรือ บริเวรแผ่นหลัง
    • อาการเจ็บหน้าอก มาพร้อมกับ การใจสั่น เหงื่อออกมาก และ ตัวเย็น (เหมือนจะเป็นลม)
    • อาการเจ็บหน้าอก ต่อเนื่อง นาน เกินกว่า 20 นาที 
  1. ใจสั่นได้ ง่าย โดยไม่มีสิ่งกระตุ้น เช่น ไม่ได้ดื่มชา กาแฟ มากผิดปกติ 
  2. เป็นลม หมดสติ ทั้งที่มีสาเหตุ ของการ ขาดอาหาร หรือ ออกกำลังกายอย่างหนักในขณะท้องว่าง

 

วิธีป้องกัน เพื่อ ลดความเสี่ยงของการเป็น โรคหัวใจ และ หลอดเลือด

  1. ปรับพฤติกรรม
    1. เลือกรับประทานอาหาร ที่รสไม่จัด  เช่น 
      1. ความคุมปริมาณโซเดียม ในแต่ละวันไม่ให้เกิน 2000 มิลลิกรัมต่อวัน หรือ ง่ายคือ เกลือไม่เกิน 1 ช้อนชา นั้นเอง
      2. ลด การทานอาหารที่มีไขมัน LDL สูง  คือ ลดของทอด อาหารที่ใช่น้ำมันในการปรุง เช่นการผัด  ลดการใช่กะทิ ปรับมาเป็น แกงป่า หรือ ต้มยำ น้ำใส 

 

    1. ออกกำลังกาย แบบคาร์ดิโอ* เป็นประจำ ไม่น้อยกว่า 150นาที ต่อ สัปดาห์ 

*การออกกำลังกายแบบ คาร์ดิโอ คือ การเคลื่อนไหวร่างกาย อย่างต่อเนื่อง เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 30-45 นาที 

    1. รักษาระดับ น้ำหนักตัวให้ไม่เกิน มาตรฐาน 
    2. ควบคุมความดันเลือดให้เป็นปกติ  
  1. เสริมแร่ธาตุ แมกนีเซียม เพื่อช่วย พลักดัน ดูดซับ แคลเซียมออกจาก หลอดเลือดหัวใจ  ซึ่ง สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะหัวใจอ่อนแรง โรคหัวใจ หรือ หลอดเลือดหัวใจ อุดตัน ซึ่งมีสาเหตุจาก มีแคลเซียมสะสมอุดตัน ที่ขั่วหลอดเลือดหัวใจ และ ในหลอดเลือดหัวใจ  ซึ่งมาจาก การทานอาหารที่มี ปริมาณแคลเซียมสูง หรือ การทานอาหารเสริมในรูปแบบ แคลเซียมคาร์บอเนต 

แคลเซียมเหล่านี้จะ เกิดการรวมตัว จับ ตัวกับ ไขมัน LDL ทำให้เกิดการสะสม อุดตัน ในบริเวณดังกล่าวขึ้น  การทาน แร่ธาตุ แมกนีเซียม ในรูปแบบอาหารเสริมที่ มีคุณภาพสูง  เลือกรูปแบบที่ ร่ายกายสามารถ ดูดซึมได้ มากกว่า 80% ขึ้นไป แมกนีเซียม จะเข้าไป ช่วยดูดซึมเอา แคลเซียมทีอุดตันหลอดเลือด เหล่านั้น และ ขับออก และ ยังนำแคลเซียม กลับเข้าสู่โพรงกระดูกเพื่อนำไป สร้างเป็น ใยกระดูก เพื่อเสริมสร้างกระดูก ให้แข็งแรงได้มากขึ้น ทาน 1 ได้ประโยชน์ 2 เรื่อง เลย

คำแนะนำในการเลือกอาหารเสริมเพื่อเติมเต็ม แมกนีเซียม ให้เพียงพอ 

  • เลือกรูปแบบของ แมกนีเซียม ที่ร่างกายสามารถดูดซึมได้สูงถึง 80% ขึ้นไป เช่น แมกนีเซียม อะมิโนแอซิค คีเลต ซึ่งเป็นนวัตกรรมการเปลี่ยนแร่ธาตุ ที่เป็นสารอนินทรีย์ที่ร่างกายดูดซึมและย่อยสลายนำไปใช้ได้ยาก 
  • โดยทั่วไปจะดูดซึมและนำไปใช้ได้เพียง 6% เท่านั้น แต่แร่ธาตุที่อยู่ในรูปแบบ อะมิโนแอซิคคีเลต ซึ่งปรับให้แร่ธาตุต่าง ๆ มีขนาดเล็ก และห่อหุ้มเคลือบด้วยโปรตีน (สารอินทรีย์) ที่เล็กมาก อย่างกรดอะมิโน ทำให้ร่างกายชอบที่จะดูดซึมจึงทำให้แมกนีเซียม อะมิโนแอซิค คีเลต ผ่านการดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้ถึง 80%
  • เลือกแบบที่ไม่ก่อให้เกิดผลข้างเคียง เพราะการทานแร่ธาตุโดยทั่วไปอาจจะทำให้เกิดผลข้างเคียง เช่น การทานแมกนีเซียม ในรูปแบบอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ อะมิโนแอซิค คีเลต อาจจะทำให้ท้องเสีย สาเหตุที่เกิดผลข้างเคียงแบบนั้น เพราะเป็นแร่ธาตุที่ร่างกายดูดซึมได้น้อยทำให้หลงเหลือของเสียที่ร่างกายไม่ดูดซึม หลงเหลือเป็นพิษ หรือร่างกายต้องการกำจัดทิ้ง ทำให้เกิดเป็นอาการข้างเคียง ดังกล่าว

ได้เคล็บลับ ไปแล้ว อย่าลืม นำไป ทำกัน เราจะได้ มีหัวใจที่แข็งแรง  มีสุขภาพดี กันทุกๆ คน

 

 

บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?

คลิกที่ดาว เพื่อให้คะแนนบทความ

Average rating 0 / 5. Vote count: 0