กินยาดักไข้ !! ช่วยได้ หรือ ยิ่งอันตราย กันแน่

  • Last modified on:4 ปี ago
  • Reading Time:3Minutes
  • Post Words:14Words
  • PostView Count:196Views

กินยาดักไข้ !! ช่วยได้ หรือ ยิ่งอันตราย กันแน่

เรื่องของฟ้าฝน เป็นเรื่องที่ เอาแน่ เอานอนไม่ได้จริงๆ บางวัน ช่วงเช้าก่อนที่เราจะออกจากบ้าน ฟ้าครึม เหมือนฝนจะตก เราก็ เตรียมตัวเอาร่มติดตัวมาด้วย เตรียมพร้อม ลุยฝน แต่ฝนกลับไม่ตก ซักพักแดดออกเปรี้ยง 

แต่ ถ้าวันไหน ฟ้าใส แดงจ้า เราก็ชะล่าใจ คิดว่าวันนี้อากาศต้องดีไม่มีฝนแน่นอน แต่พอ ใกล้ๆ เลิกงาน ฝนกับ เทลงมาเหมือนฟ้า ถล่ม  ร่มก็ไม่ได้เอามา บ้านก็ต้องรีบกลับ ก็ ถึงเวลา เป็นางเอก พระเอกมิวสิก เดินลุยฝน

และหลายๆ ครั้ง ที่เราตากฝน  เราก็มักจะ ได้ยินคนใกล้ตัวเตือนให้ ทานยาพาราเซตามอล หรือ ยาแก้หวัดลดไข้ กันไว้ ก่อนที่จะเป็นหวัด ซึ่งเชื่อว่าหลายๆ คนก็ เคยทาน ยากัน ก่อนป่วยแบบนี้ ใช่ไหมค่ะ แล้วเคยสงสัยไหมค่ะ ว่า การ กินยาดักไข้ มันช่วยได้จริงๆ ไหม ยาที่ทานเข้าไป ทั้งที่ตอนที่ทานไม่ได้มีอาการป่วยอะไรเลย จะส่งผลให้เกิดอะไรกับร่างกายหรือไม่ ทานยาแบบนี้บ่อยๆ จะ เป็นอะไร ในระยะยาวไหม

ทุกๆ ความสงสัยวันนี้ สุขภาพดีดี  มีคำตอบ

ก่อนอื่น มารู้กันก่อนว่า เราติดหวัด หรือ ป่วยเป็นหวัดได้อย่างไร

การเป็นหวัด หรือติดหวัดจากการตากฝน เกิดจาก เชื้อไวรัส หวัด เกาะอยู่กับ ละอองน้ำฝน ที่ลอยอยู่ในอากาศ แล้วเมื่อเราเดินตากฝน เราก็ สูดเอาละอองน้ำที่มีเชื้อไวรัส นั้น เข้าไป เจ้าเชื้อร้างพวกนี้ก็จะ ต้องผ่าน ภูมิคุ้มกัน ภายใน ร่างกาย  หากภูมิคุ้มกัน ของเราแข็งแรง ก็จะปราบ เจ้าเชื้อไวรัสพวกนี้ได้หมด เราก็แทบไม่รู้สึก ไม่มีอาการอะไรเลย แต่ถ้า ภูมิคุ้มกันในร่างกาย ของเราอ่อแอ ผ่ายแพ้ต่อเชื้อไวรัส ผู้รุกราน เราก็จะเริ่มมีอาการป่วยตามมา  ซึ่งจะสังเกตได้ว่า หลายครั้งที่เราตากฝน เปียกจนไม่เหลือที่แห้ง แต่เรากลับไม่เป็นหวัด  แต่ ในบางครั้ง เราโดนเพีบงละอองฝนเล็กน้อย ก็ กลายเป็นหวัด ป่วยได้ไข้ นอนซมไปหลายวัน 

จะเห็นได้ว่า ปัจจัยสำคัญ ของการจะป่วยหรือไม่ป่วย จะติดหวัดหรือไม่ ขึ้นอยู่กับ ความแข็งแรงของภูมิคุ้มกัน นั้นเอง 

แล้วยาพาราเซตามอล หรือ ยาลดไข้ มีคุณสมบัติ เพิ่มความแข็งแรงให้ภูมิคุ้มกันของเราได้หรือไม่ เราถึงเลือกใช่ยามา ทานเพื่อป้องกันการเป็นหวัด 

ยาพาราเซตามอล มีคุณสมบัติหลัก 3   อย่างคือ

      1. ลดไข้
      2. แก้ปวด
      3. ลดการอักเสบ (อ่อนๆ)

ส่วน ยาลดไข้แก้หวัด มีคุณสมบัติ คือ  

      1. ลดไข้ 
      2. ลดน้ำมูก
      3. บรรเทาอาการแพ้
      4. ลดอาการไอ

ซึ่ง จากคุณสมบัติของ ยาทั้ง 2 ชนิด จะเห็นได้ว่า เป็นการักษาโรค หรือ อาการที่เกิดขึ้นแล้ว ไม่มีผลกับการเสริมภูมิคุ้นกัน ป้องกันโรคแต่อย่างใด ค่ะ

สรุปคือ การทานยา ดักไข้ จึงไม่สามารถ ช่วยป้องกันการ เป็นหวัดได้ ชัวร์!!!!

แล้ว การทานยาดักไข้ จะทำให้เกิดผลเสีย ต่อร่างกาย ในด้านใดหรือไม่ 

เกิดแน่นอนค่ะ  การทานยากัน ก่อน ป่วย คือการรับยาโดยไม่จำเป็น โดย ผลข้างเคียงของ ยาแต่ละชนิดเป็นดังนี้ค่ะ

ผลข้างเคียงของยาพาราเซตามอล คือ ปวดศีรษะ , คลื่นไส้อาเจียน,ปวดแสบท้อง 

ผลข้างเคียงของยาแก้หวัด ซึ่งมีส่วนประกอบของ กลุ่มยาแก้แพ้ จึงทำให้เกิดการง่วง ,ใจสั่น , มือสั่น  

สรุปคือ การทานยา เพื่อดักไข้ นอกจากจะไม่สามารถป้องกันการเป็นหวัดได้ แล้ว ยังมีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดผลข้างเคียงที่เป็นอันตรายต่อ ร่ายกายอีกด้วยค่ะ

 

ถ้าไม่ กินยาดักไข้ แล้วตากฝน จะป้องกันตัวได้อย่างไร 

ในเมื่อปัจจัยสำคัญของการ จะเป็นหวัดหรือไม่อยู่ที่ ความแข็งแรงของภูมิคุ้มกัน ดังนั้น สิ่งที่ต้องทำคือ การ สร้างระบบภูมิคุ้มกันที่แข็งแรง ไว้รองรับ กับทุกสภานะการณ์ ไม่ใช่แค่เพียง การลุยฝนเท่านั้น เพราะ จริงๆ แล้ว รอบๆ ตัวเรา ก็มีไวรัส อยู่เต็มไปหมด พร้อมที่จะเข้าโจมตี เราอยู่เสมอ 

หลัก 6 ประการ สร้างภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง   

  1. นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ 6-8   ชั่วโมง 
  2. ลดละความเครียด
  3. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ 
  4. หลีกเลี่ยงพฤติกรรม ที่ทำให้ ทำลายภูมิกัน เช่น การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่
  5. หมั่นตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อ รู้ก่อน รักษา ได้ทัน 
  6. การทานอาหารที่ช่วย เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน  เช่น วิตามินซี หรือ พืชผัก สมุนไพรพื้นบ้านที่ผ่านการวิจัย ยืนยันรับรองผล เกี่ยวกับ สร้างภุมิคุ้มกัน ป้องกันโรคได้ เช่น สมุนไพร พลูคาว 

 

สมุนไพรพลูคาว 

สมุนไพรพลูคาวคืออะไรผักพลูคาวหรือ ผักคาวตอง ผักก้านตอง เป็นสมุนไพรพื้นบ้านของไทยและประเทศในเอเชียปลูกมากทางภาคเหนือของประเทศไทย เป็นผักพื้นบ้านที่มีการบริโภคมาหลายร้อยปี ใช้กินแกล้มกับลาบ ลู่ ก้อย พลูคาวมีใบเป็นรูปหัวใจ ตระกูลเดียวกับชะพลูเป็นพืชล้มลุก ปลูกมากทางภาคเหนือของประเทศไทย เป็นผักพื้นบ้านที่มีการบริโภคมาหลายร้อยปี จะใช้กินแกล้มกับลาบ ลู่ ก้อย พลูคาวชอบอากาศเย็นชื้นอุณหภูมิ 5-25 องศาเซลเซียส ปัจจุบันมีการขยายการปลูกพลูคาวที่จังหวัดเชียงราย

สรรพคุณของ พลูคาว กับ การป้องกันหวัด

  • ป้องกันไวรัสเข้าเซลล์
  • ลดการแบ่งตัวของไวรัส
  • เพิ่มภูมิคุ้มกันไวรัส
  • ลดการอักเสบที่ปอด จากการติดเชื้อไวรัส

จากสรรพคุณ ของพลูคาว ที่ช่วยป้องกันไวรัส และ เพิ่มพลังให้ภูมิคุ้นของเราแข็งแรง ดังนั้นการทานสมุนไพร พลูคาว น่าจะเป็น สิ่งที่ใช่ ในการ เลือกทาน เพื่อดักโรคหวัด มากกว่า ยาพารา หรือ ยาแก้หวัด 

  ทานพลูคาวควรเลือกทาน ที่เป็น สารสกัดเพราะ  มีงานวัจัย พบว่า การทานพลูคาว แบบสด ในปริมาณที่มาเกินไป จะทำให้ ได้รับ สารออกซาเลต าทานในปริมาณสูงมีรายงานเหมือนกันว่าทำให้เกิดนิ่วในไตแล้วก็ผู้ป่วยบางรายก็มีรายงานว่าทำให้ไตวายเฉียบพลันได้

 

การเลือกทานพลูคาว เพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกัน ดักไข้หวัด

  1. เลือก ผลิตภัณฑ์  ที่มี สารสกัดจาก พลูคาว ที่ผ่านการสกัด เอามาเฉพาะสาระสำคัญ ไม่ใช่การ นำ ใบพลูคาวอบแห้งมาบรรจุแคปซูลเพราะจะทำให้มีโอกาสเสี่ยงในการรับสาร สารเควอซิทิน ที่เกิน 1 กรัม/วัน เพราะหากร่างกายได้รับสารเควอซิทินมากเกินไป อาจทำให้ไตเสียหายได้ 
  2. เลือก ผลิตภัณฑ์ มี สารสกัดจาก พลูคาว ที่มีความเข้มข้นของ สารสกัดจากพลูคาวไม่น้อยกว่า 2,400 มก.ต่อแคปซูล เพื่อให้เพียงพอต่อการ ดูแลสุขภาพ   เสริมภูมิคุ้มกัน และ ยับยั้งความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัส
  3. เลือก ผลิตภัณฑ์ มี สารสกัดจาก พลูคาว ที่มี ส่วนประกอบ  ของ สมุนไพร อื่นๆ ที่ช่วย ส่งเสริมการทำงานของพลูคาว ในการ ดูแลสุขภาพ  ให้พลูคาว ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เช่น

เบต้า กลูแคนจากยีสด์ =  ช่วยให้เม็ดเลือดขาวแข็งแรง สร้างภูมิคุ้มกันให้ประสิทธิภาพสูงสุด

เห็ดหลินจือ=ด้านการอักเสบ ปรับการทำงานระดับเซลล์ ให้ทำงานได้อย่างสมบูรณ์

โสม =บำรุงหัวใจ และ หลอดเลือดให้แข็งแรง

เจียวกู้หลาน= ลดระดับน้ำตาลในเลือด ปรับน้ำตาลเป็นพลังงาน ทำให้ไม่อ่อนเพลีย

วิตามินซี =เสริมภูมิคุ้มกันของร่างกาย ให้มีความทนทานแข็งแรง และ ว่องไวต่อการกำจัดเชื้อโรค

 

  1. เลือกผลิตภัณฑ์ มี สารสกัดจาก พลูคาว  ที่ได้รับ มาตรฐานการผลิต HACCP , GMP , Natural Product และ อนุสิทธิบัตร จาก กรมทรัพย์สินทางปัญญา  

และ ที่สำคัญคือ ควรเลือกผลิตภัณฑ์ที่ มีเลขที่อย ชัดเจน ที่ชื่อผู้ผลิต ผู้จัดจำหน่ายที่ได้รับการยอมรับจาก เภสัชกร ร้านขายยา มานานกว่า 16ปี  จึงจะมั่นใจได้ในคุณภาพ ได้ 100 %

 

 

 

 

บทความนี้เป็นประโยชน์หรือไม่?

คลิกที่ดาว เพื่อให้คะแนนบทความ

Average rating 0 / 5. Vote count: 0