บ้าสมบัติ ไม่ใช่นิสัย แต่เป็นอาการป่วย!!
จะเก็บกวาดบ้าน ตั้งใจจะเอาของที่ไม่ใช่
แต่เก็บไว้จนล้น รกบ้าน ทิ้งทีไร สุดท้าย ก็ล้มเหลว
จะทิ้ง ชิ้นนี้ก็เสียดาย จะทิ้งชิ้นนั้นก็เสียดาย สุดท้าย เก็บไว้เหมือนเดิม
อาการเสียดายของ แบบนี้เป็นโรคทางจิต หากปล่อยไว้ไม่เรียนรู้ แล้วรีบรับการรักษา
หรือ ดูแลตัวเองปรับพฤติกรรม จะกลายเป็น “โรคบ้าสมบัติ” หรือ ทางการแพทย์ เรียกโรคนี้ว่า
“โรคชอบสะสมของ”Hoarding disorder ซึ่งผู้ป่วยโรคนี้ เราอาจจะ เคยได้พบ ได้เห็นผ่านตาทางข่าว
ซึ่งมักจะเป็นข่าวกับผู้สูงอายุ ที่สะสมขยะจนล้นบ้าน ใครจะเอาไปทิ้ง ก็ไม่ยอม
มองว่าขยะพวกนั้น เป็นเหมือนสมบัติ ล้ำค่า ทำเอาคนในครอบครัว รวมทั้งเพื่อนบ้าน พากัน เดือดร้อน กันไปหมด
วันนี้ เรามาทำความรู้จักกับโรคนี้กัน เพื่อเช็กว่าตัวเรา หรือ คนใกล้ชิดเรามีใครที่
เข้าข่ายป่วยเป็นโรคนี้หรือไม่ จะได้ดูแลกัน ก่อนที่จะแก้ไขไม่ทัน
ทำความเข้าใจ ว่าไม่ใช่เพราะนิสัยแต่เป็น “โรค”
ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจว่า คนที่ชอบเก็บสะสม ในลักษณะนี้ ไม่ใช่คนที่สกปรก ขี้เกียจ หรือ
เป็นคนงก แต่ เป็นเพราะ ความผิดปกติ ภายในสมอง ที่ไม่สมดุลทำให้เกิด เป็น โรคสะสมของ เกิดขึ้น
สาเหตุของโรค บ้าสมบัติ
ยังไม่สามารถระบุ ได้ชัดเจนว่าโรคดังกล่าว มีสาเหตุเกิดจากอะไร แค่ ที่สังเกตได้คือ
เกิดกับคนโสด มากกว่าคนมีคู่ มักเริ่มมีอาการตั้งแต่ วัยหนุ่ม สาว และ รุนแรงขึ้นเรื่อยๆ
จนกลายเป็นปัญหา ในวันสูงอายุ ถึงแม้ว่า จะไม่สามารถ สรุปสาเหตุ ของโรคได้ชัดเจนแค่ก็
พอจะคาดการณ์ได้ ว่ามีปัจจัยบางอย่าง ที่ส่งผลให้เกิดอาการได้ ดังนี้ค่ะ
- กรรมพันธุ์ มีพ่อแม่ ปู่ ย่า ตา ยาย เป็นโรคดังกล่าว คนรุ่นลูก ก็มีโอกาส เป็นโรคนี้ได้เช่นกัน
- เกิดความผิดปกติ ในสมอง ในส่วน ซินกูเลทคอร์เท็กซ์ และ ออกซิพิทัน โลบ ซึ่งเป็นสมอง ที่ทำหน้าที่คิด และ ตัดสินใจ ทำงานลดลง
- เคยมีประวัติ เกิดอุบัติเหตุ หรือ เจ็บป่วย ทางสมอง
- เป็นโรคแทรกซ้อน ของโรคทางจิต ชนิดอื่นๆ เช่น โรคซึมเศร้า โรคย้ำคิดย้ำทำ
อาการของโรค เรามาเช็คกันดีกว่า ว่าเราเริ่มอาการ ของโรคนี้กันหรือไม่
- ชอบเก็บและซื้อของที่ไม่จำเป็น จนมีคนทัก คนอื่นเริ่มห้าม และถามให้เราคิดว่า
ซื้อทำไม่ยังไม่อยู่ และ เราก็จะมีเหตุผลตอบกลับ เพื่อจะซื้อ หรือ เก็บ ของเหล่านั้น ต่อไปเรื่อยๆ
- เกิดความ เครียดอย่างรุนแรง ที่จำเป็นต้องจัดของ หรือ ทิ้งของ ที่เก็บสะสมไว้
สุดท้ายเก็บไว้เหมือนเดิม โดยให้เหตุผลกับตัวเอง ว่า “เผื่อได้ใช่อีกครั้ง”
- ไม่สามารถ จัดหมวดหมู่ของสินค้าได้ เก็บสะสม รวมกันไว้ทั้งหมด
- หวงของ ไม่ยอมให้ใครเข้าไปยุ่ง ทั้งที่ คนใกล้เคียง อาจจะเพียงแค่ ช่วยจัด ให้เป็นระเบียบ ก็ ไม่ยอม
- ของที่สะสมไว้ มีปริมาณเยอะขึ้นเรื่อย จนเริ่ม สร้างความลำบาก รำคาญให้กับ ตัวเอง และ คนรอบข้าง
- เมื่อมีการเก็บสะสม ของชิ้นใหม่ จะเกิดความรู้สึกผิดในใจแต่ ก็ หยุดไม่ได้
การดูแล รักษา
หากอาการรุนแรง ต้องเข้าพบ จิตแพทย์ เพื่อตรวจรักษาและรับยา ซึ่งเป็น กลุ่มยาต้านเศร้า
แต่ หาก อาการ ไม่รุนแรง สามารถดูแลได้ด้วยอาหารเสริม ที่มีสารสกัดจาก น้ำมันจมูกข้าว
เพราะในน้ำมันจมูกข้าว มีสารอาหารที่ชื่อว่า “แกมมา โอไรซานอล”
ซึ่งช่วยเพิ่ม การหลั่งฮอร์โมนเอ็นโดฟิน และ ฮอร์โมนเมลาโทนิน ซึ่งจะช่วยให้ผ่อนคลาย
และความเครียด ช่วยให้สบายใจ และ ยังช่วยให้หลับสบาย หลับลึก เมื่อสมองได้ผ่อนคลาย
ก็จะมีความสามารถ ในการเยียวยารักษาตัวเอง โดยการสร้างสมดุลในสมอง ทำให้มีโอกาสที่สมอง
ส่วนเหตุผล กลับมาทำงานเป็นปกติได้อีกครั้ง ข้อสังเกตสำคัญคือ ควรเลือกผลิตภัณฑ์
น้ำมันจมูกข้าว ที่มีแกมมาโอไรซานอล ไม่น้อยกว่า 100% ต่อเม็ด ซึ่งปริมาณ นี้เป็น ปริมาณที่ได้ผลดีที่สุดค่ะ
และ ฝึกร่วมกับการ ให้ผู้ป่วย เข้าใจเหตุผล และฝึกให้ผู้ป่วยเลือกทิ้งของที่ไม่จำเป็นที่สุดแล้ว
ค่อยๆ เลือกสิ่งของ และ เพิ่มจำนวนที่จะทิ้ง ขึ้นเรื่อยๆ โดยสิ่งที่จะทำให้ผู้ป่วยหรือ
ผู้ที่เริ่มมีอาการ ของโรคสะสมของ กลับมาเป็นปกติได้ คือ ความเข้าใจของ ครอบครัว
ความรัก ความเข้าใจ และ ความอบอุ่นเป็นยาที่รักษาจิตใจที่ดีที่สุด อย่าลืมตรวจเช็ค
หมั่นดูแล ทั้งสุขภาพกาย และ สุขภาพใจ ของคนในครอบครัว ให้ดี และ มีความแข็งแรงอยู่เสมอ
ด้วยความปรารภนา จากสุขภาพดีดี